วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

พัฒนาระบบการรับสะหมักนักศิกษาผ่านระบบเคื่อข่ายอินเทวเน็ด


 1.  ชื่อเรื่องโคงการ
                  พัฒนาระบบการรับสะหมักนักศิกษาผ่านระบบเคื่อข่ายอินเทวเน็ด
   
 2.  หลักการและเหตุผล
โดยการตอบสนองตามแนวทางนโยบายของพรรค และ รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาธิประไตย ประชาชนลาว ในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมให้ก้าวหน้า และ เข้มแข็งเทียบทันกับบรรดาประเทศในภาคพื้น และ ในโลก รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาระบบการศึกษาก็คือการสร้างบุคลากร และ การศึกษาทรัพยากรมนุษย์ ที่มีคุณภาพ ออกรับใช้สังคมดังนั้นพรรคและรัฐบาลของ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว จึงได้กำหนดนโยบายทางด้านพัฒนาการศึกษาขึ้น โดยมีการส้างโรงเรียนวิชาชีบขึ้น เป็นแห่งทำอิดของประเทศนั้นก็คืโรงเรียนเทศนิกปากป่าสักพอมาถึง ปี ค ส 2009 เป็นต้นมาโรงเรียนเทศนิกปากป่าสักก็ได้เปรียนชื่อมาเป็น วิทยาลักเทศนิกปากป่าสัก มาจนถึง ปัจุบัญ
 ระบบการรับสะหนักนักศึกษาของวิทยาลัยเทศนิกปากป่าสักยังคงประติบัดแบบดั่งเดีมโดบกานรับสะหนักแบบ การมายื่นเอกะสานกับหน่วยงานรับสะหนักเร็ดให้เกีดความหยุ้งยากต่อกับผู้ที่จะมาสหนักเข้าเรียน
การนำเอาระบบสระสนเทศเข้ามาใช้ในงานรับสะหนักนักศิกษาจะเร็ดให้มีความสะดวกและรวดเรวต่อกับงานรับสะหมักนักศิกษาของวิทยาลัย ทำให้ผู้สะหมักไม่ต้องเสียเวลามากและทำให้เก็บกำสะถิติจำนวนพนของผู้สะหนักได้เรวขิ้น ผู้บริหารสามาดตรวดสอบข้อมูลและรับรู้ข้อมูลได้อย่างรวดเรว


3.  วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อพัฒนาระบบการรับสะหมักนักศึกษาของวิทยาลัยเทศนิกปากป่าสักผ่านเคือข่าย Internet
3.2 เพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของระบบการรับสะหมักนักศึกษาของวิทยาลัยเทศนิกปากป่าสัก
      
5.  วิธีการวิจัย
                                5.1 ศึกษาทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรับสะหมักนักศิกษา
                                5.2 วิเคราะห์และออกแบบระบบ
                                5.3 พัฒนาระบบ
                               
5.4 ทดสอบและปรับปรุงระบบ
                                5.5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

6.  ขอบเขตของการวิจัย
เพื่อพัฒนาระบบงานรับสะหมักนักศิกษาให้มีความสะดวกสบายแก่ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และอาจารย์ด้วยการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยผ่านเครือข่ายวิทยาลักเทศนิกปากป่าสัก มีขอบเขตในการสร้าง ระบบดั่งต่อไปนี้
1.3.1       ขอบเขตของระบบ ช่วยให้เจ้าหน้าที่ อาจารย์ นักศึกษา ผู้บริหาร ที่เกี่ยวข้องกับระบบทุกๆฝ่ายสามารถลดภาระความยุ่งยากและอุปสรรคในการทำงานในด้านต่างๆดังนี้
1.3.1.1        สามารถบันทึกข้อมูลประวัติต่างๆของผู้สะหมัก
1.3.1.2        สามารถบันทึกข้อมูลจำนวนพนที่สะหมักในแต่ระสาขาวิชา
1.3.1.3       สามารถบันทึกผลการสอบเข้าของนักศิกษาในแต่ระสาขาวิชา
1.3.1.4        สามารถบันทึกการจ่ายค่าทรรมเนียมการสอบ
1.3.1.5        สามารถส่งข้อมูลข่าวสารต่างๆเพื่อแจ้งให้กับผู้บริหาร
1.3.2      ขอบเขตของผู้ใช้ระบบแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม
1.3.2.1        กลุ่มที่1 เจ้าหน้าที่ฝ่ายงานรับสะหมักนักศิกษา
1.3.2.2        กลุ่มที่2 ผู้สะหมักเรียน
1.3.2.3       กลุ่มที่4 เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน
1.3.2.4        กลุ่มที่5 ผู้บริหาร
1.3.2.5        กลุ่มที่6 ผู้ดูแลระบบ

7.  สถานที่ทำการวิจัย
          7.1 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
          7.2 วิทยาลัยปากป่าสัก
8.  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
       8.1 ได้ระบบการรับสะหมักนักศิกษาผ่านเคือข่ายอินเทวเน็ด
       8.2 ทำให้เกิดประสิทธิภาพ ความรวดเร็วในการรับสะหมักนักศิกษา
       8.3 ลดการทำงานของเจ้าหน้าที่งานรับสะหมัก รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการเตรียมความพร้อมในการจัดการสอบ
       8.4 อำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารของผู้สะหมักสอบเข้าเรียน
       8.5 อำนวยความสะดวกในการค้นหารายงานต่างๆ ในการสอบ
      

9.  แผนการทำวิจัย
กิจกรรม/
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินการ
มิ.ย.2554
ก.ค.2554
ส.ค.2554
ก.ย.2554
ต.ค.2554
พ.ย.2554
ธ.ค.2554
ม.ค.2555
ก.พ.2555
มี.ค.2555
เม.ย.2555
พ.ค.2555
ศึกษาและรวบรวมข้อมูล












วิเคราะห์และออกแบบระบบ












พัฒนาระบบ












ทดสอบและปรับปรุงระบบ












ติดตั้งระบบเพื่อใช้งาน












สรุปผล













ลงชื่อ……………………………………………….นักศึกษา
(………………………………………….)
………/………/………


ลงชื่อ……………………………………………….อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
(………………………………………….)
………/………/………


ลงชื่อ……………………………………………….ประธานหลักสูตร
(………………………………………….)
………/………/………

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น