วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

PERT & CPM

1.      คำถามที่ 1
 เอกสาร power point หน้า 13 มีกี่เส้นทาง ที่เป็นไปได้ และเส้นทางใดเป็น critical path พร้อมบอกระยะเวลาที่วิกฤติ
             จากโจทย์มีทั้งหมด 3 เส้นทางที่เป็นไปได้คือ
  • A < D < I =0+3+8+6 = 17
  • B < E < G  < J = 0 +5+5+4+4 =18
  • C < F < H < J =0+7+5+5+4 =21
วิเคราะห์หาวิถีวิกฤตของข่ายงาน วิถีวิกฤตของข่ายงานประกอบด้วยกิจกรรม C, F, H และโดยมีเวลาแล้วเสร็จของโครงการเท่ากับ 21 วัน
          
2.      คำถามที่ 2
                 ท่านคิดว่า CPM กับ PERT ต่างกันอย่างไร หน้า 19 กับ 26
ข้อแตกต่างชัดเจนระหว่าง PERT และ CPM คือ เวลาในการทำกิจกรรม กล่าวคือ เวลาในการทำกิจกรรมของ PERT จะเป็นเวลาโดยประมาณซึ่งคำนวณได้ด้วยการใช้ความน่าจะเป็น PERT จึงใช้กับโครงการที่ไม่เคยทำมาก่อน หรือโครงการซึ่งไม่สามารถเก็บรวบรวมเวลาของการทำกิจกรรมได้ เช่น โครงการพัฒนาวิจัย ส่วน CPM นั้น เวลาที่ใช้ในกิจกรรมจะเป็นเวลาที่แน่นอน ซึ่งคำนวณได้จากข้อมูลที่เคยทำมาก่อน เช่น อัตราการทำงานของงานแต่ละประเภท อัตราการทำงานของเครื่องจักร เป็นต้น CPM จึงใช้กับโครงการที่เคยทำมาก่อน ซึ่งมีความชำนาญแล้ว  


ข้อแตกต่างระหว่าง  pert  และ cpm

PERT

1. ใช้กับโครงการใหม่ๆที่ยังไม่เคยทำมาก่อน
2. ใช้กับโครงการวิจัยและพัฒนา
3. คำนึงถึงเวลาเป็นสำคัญพยายามหาวิธีการที่ใช้เวลาน้อยที่สุดในการดำเนินโครงการ


CPM

1.ใช้กับโครงการที่เคยทำมาแล้วและทราบเวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรมแต่ละกิจกรรมที่แน่นอน
2. ใช้กับโครงการธุรกิจ
3.มองเรื่องเงินเป็นหลักเนื่องจากต้องการเส้นทางที่ประหยัด งบประมาณที่สุด

วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

พัฒนาระบบการรับสะหมักนักศิกษาผ่านระบบเคื่อข่ายอินเทวเน็ด


 1.  ชื่อเรื่องโคงการ
                  พัฒนาระบบการรับสะหมักนักศิกษาผ่านระบบเคื่อข่ายอินเทวเน็ด
   
 2.  หลักการและเหตุผล
โดยการตอบสนองตามแนวทางนโยบายของพรรค และ รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาธิประไตย ประชาชนลาว ในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมให้ก้าวหน้า และ เข้มแข็งเทียบทันกับบรรดาประเทศในภาคพื้น และ ในโลก รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาระบบการศึกษาก็คือการสร้างบุคลากร และ การศึกษาทรัพยากรมนุษย์ ที่มีคุณภาพ ออกรับใช้สังคมดังนั้นพรรคและรัฐบาลของ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว จึงได้กำหนดนโยบายทางด้านพัฒนาการศึกษาขึ้น โดยมีการส้างโรงเรียนวิชาชีบขึ้น เป็นแห่งทำอิดของประเทศนั้นก็คืโรงเรียนเทศนิกปากป่าสักพอมาถึง ปี ค ส 2009 เป็นต้นมาโรงเรียนเทศนิกปากป่าสักก็ได้เปรียนชื่อมาเป็น วิทยาลักเทศนิกปากป่าสัก มาจนถึง ปัจุบัญ
 ระบบการรับสะหนักนักศึกษาของวิทยาลัยเทศนิกปากป่าสักยังคงประติบัดแบบดั่งเดีมโดบกานรับสะหนักแบบ การมายื่นเอกะสานกับหน่วยงานรับสะหนักเร็ดให้เกีดความหยุ้งยากต่อกับผู้ที่จะมาสหนักเข้าเรียน
การนำเอาระบบสระสนเทศเข้ามาใช้ในงานรับสะหนักนักศิกษาจะเร็ดให้มีความสะดวกและรวดเรวต่อกับงานรับสะหมักนักศิกษาของวิทยาลัย ทำให้ผู้สะหมักไม่ต้องเสียเวลามากและทำให้เก็บกำสะถิติจำนวนพนของผู้สะหนักได้เรวขิ้น ผู้บริหารสามาดตรวดสอบข้อมูลและรับรู้ข้อมูลได้อย่างรวดเรว


3.  วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อพัฒนาระบบการรับสะหมักนักศึกษาของวิทยาลัยเทศนิกปากป่าสักผ่านเคือข่าย Internet
3.2 เพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของระบบการรับสะหมักนักศึกษาของวิทยาลัยเทศนิกปากป่าสัก
      
5.  วิธีการวิจัย
                                5.1 ศึกษาทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรับสะหมักนักศิกษา
                                5.2 วิเคราะห์และออกแบบระบบ
                                5.3 พัฒนาระบบ
                               
5.4 ทดสอบและปรับปรุงระบบ
                                5.5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

6.  ขอบเขตของการวิจัย
เพื่อพัฒนาระบบงานรับสะหมักนักศิกษาให้มีความสะดวกสบายแก่ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และอาจารย์ด้วยการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยผ่านเครือข่ายวิทยาลักเทศนิกปากป่าสัก มีขอบเขตในการสร้าง ระบบดั่งต่อไปนี้
1.3.1       ขอบเขตของระบบ ช่วยให้เจ้าหน้าที่ อาจารย์ นักศึกษา ผู้บริหาร ที่เกี่ยวข้องกับระบบทุกๆฝ่ายสามารถลดภาระความยุ่งยากและอุปสรรคในการทำงานในด้านต่างๆดังนี้
1.3.1.1        สามารถบันทึกข้อมูลประวัติต่างๆของผู้สะหมัก
1.3.1.2        สามารถบันทึกข้อมูลจำนวนพนที่สะหมักในแต่ระสาขาวิชา
1.3.1.3       สามารถบันทึกผลการสอบเข้าของนักศิกษาในแต่ระสาขาวิชา
1.3.1.4        สามารถบันทึกการจ่ายค่าทรรมเนียมการสอบ
1.3.1.5        สามารถส่งข้อมูลข่าวสารต่างๆเพื่อแจ้งให้กับผู้บริหาร
1.3.2      ขอบเขตของผู้ใช้ระบบแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม
1.3.2.1        กลุ่มที่1 เจ้าหน้าที่ฝ่ายงานรับสะหมักนักศิกษา
1.3.2.2        กลุ่มที่2 ผู้สะหมักเรียน
1.3.2.3       กลุ่มที่4 เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน
1.3.2.4        กลุ่มที่5 ผู้บริหาร
1.3.2.5        กลุ่มที่6 ผู้ดูแลระบบ

7.  สถานที่ทำการวิจัย
          7.1 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
          7.2 วิทยาลัยปากป่าสัก
8.  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
       8.1 ได้ระบบการรับสะหมักนักศิกษาผ่านเคือข่ายอินเทวเน็ด
       8.2 ทำให้เกิดประสิทธิภาพ ความรวดเร็วในการรับสะหมักนักศิกษา
       8.3 ลดการทำงานของเจ้าหน้าที่งานรับสะหมัก รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการเตรียมความพร้อมในการจัดการสอบ
       8.4 อำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารของผู้สะหมักสอบเข้าเรียน
       8.5 อำนวยความสะดวกในการค้นหารายงานต่างๆ ในการสอบ
      

9.  แผนการทำวิจัย
กิจกรรม/
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินการ
มิ.ย.2554
ก.ค.2554
ส.ค.2554
ก.ย.2554
ต.ค.2554
พ.ย.2554
ธ.ค.2554
ม.ค.2555
ก.พ.2555
มี.ค.2555
เม.ย.2555
พ.ค.2555
ศึกษาและรวบรวมข้อมูล












วิเคราะห์และออกแบบระบบ












พัฒนาระบบ












ทดสอบและปรับปรุงระบบ












ติดตั้งระบบเพื่อใช้งาน












สรุปผล













ลงชื่อ……………………………………………….นักศึกษา
(………………………………………….)
………/………/………


ลงชื่อ……………………………………………….อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
(………………………………………….)
………/………/………


ลงชื่อ……………………………………………….ประธานหลักสูตร
(………………………………………….)
………/………/………